ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

 

เกี่ยวกับเรา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ และประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยนี้ จึงมีชื่อตามกฎหมายว่า “มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” คณะพุทธศาสตร์ เป็นคณะแรกของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่เปิดการศึกษาเน้นหนักในด้านภาษาบาลี พระพุทธศาสนา ศาสนาและปรัชญา ในชั้นแรกแบ่งหลักสูตรออกเป็น ๔ ภาควิชา คือ :-
๑. ภาควิชาภาษาบาลี
๒. ภาควิชาพระพุทธศาสนา
๓. ภาควิชาศาสนาและปรัชญา
๔. ภาควิชาภารตวิทยา
ใน พ.ศ. ๒๔๙๗ มีผู้สำเร็จปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) รุ่นแรก จำนวน ๔ รูป และอนุปริญญา (อนุ พธ.บ.) จำนวน ๒ รูป

งานวิชาการ

หลักสูตรระดับปริญญาตรี, ปริญญาโท, ปริญญาเอก

รูปแบบการเรียนรู้แบบศาสนาเปรียบเทียบ

งานวิจัยและวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับศาสนาเปรียบเทียบ

คณาจารย์ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

 

บุคลากร

คณาจารย์ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

พระเมธีวรญาณ,ผศ.ดร.
คณบดีคณะพุทธศาสตร์
พระมหาจรูญ กิตฺติปญฺโญ, ป.ธ.๙,ดร
ผู้อำนวยการหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ
รศ.ดร.กฤต ศรียะอาจ
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริการสังคม
รศ.ดร.ณัทธีร์ ศรีดี
รองคณบดีฯ ฝ่ายบริหาร
ผศ.ดร.คงสฤษฎ์ แพงทรัพย์
ผอ.ป.โท สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ
นายไชยา เสนแสนยา
นักจัดการงานทั่วไป
พระครูธรรมบาลพิจิตร ธมฺมวิจิตฺโต
นักจัดการงานทั่วไป ป.โท ศาสนาเปรียบเทียบ

Religious Methodology

 

Special Lecture

บรรยายพิเศษ

"...ศาสนาคือเครื่องมือ (tool) เราใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์..."

ศ.ดร.สมภาร พรมทา

ศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

"...นักศึกษาศาสนาต้องศึกษาศาสนาด้วยทัศนะที่ไร้อัตตา เป็นกลาง และวิเคราะห์ ..."

พระมหาพรชัย สิริวโร,ผศ.ดร.

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ศาสนาไม่ได้เริ่มต้นที่ความดีความชั่ว แต่เริ่มที่ความตระหนักรู้ตนเอง (self-awareness)

พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี,ป.ธ.๙,ผศ.ดร.

รักษาการหัวหน้าภาควิชาศาสนาและปรัชญา, ผอ.ป.เอก ศาสนาเปรียบเทียบ